แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดอกไม้
จุดประสงค์
1. เพื่อให้เด็กบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะดอกช่อและดอกเดี่ยวได้อย่างน้อย 3 ชนิด
2. เพื่อให้เด็กสามารถจำแนกลักษณะของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อและดอกเดี่ยวได้
3.จำนวนมาก-น้อย
4. พัฒนาความคิดและจินตนาการได้
สาระการเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้
1.ดอกเดี่ยว เป็นดอกที่เกิดขึ้นบนก้านดอก เป็นดอกเดียวโดดๆ ในแต่ละข้อของกิ่งหรือลำต้น เช่น ชบา กุหลาบ ดาวเรือง เป็นต้น
2. ดอกช่อ เป็นดอกที่เกิดเป็นกลุ่มอยู่บนก้านดอกใหญ่เดียวกัน และประกอบด้วยก้านดอกย่อยๆ หลายดอก ลักษณะการติดของดอกทำให้เกิดช่อดอกแบบต่างๆ กัน เช่น กล้วยไม้ เป็นต้น
ประสบการณ์สำคัญ
1. การแยกชนิดของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสอนร้องเพลง “จ้ำจี้ดอกไม้” โดยการ
-ครูสอนให้เด็กๆ พูดตาม
-ครูสอนให้เด็กร้องตาม
-ครูให้เด็กๆ ร้องพร้อมกัน
จากนั้น ครูสนทนากับเด็ก โดยใช้คำถามดังนี้
-“เด็กๆ ค่ะ ในเพลงนี้ มีดอกไม้ชนิดใดบ้าง”
2. ครูสนทนากับเด็กโดยถามจากประสบการณ์เดิมของเด็ก เกี่ยวกับดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว ดังนี้
“เด็กๆ บอกครูซิว่าดอกไม้ชนิดใดบ้างที่เด็กๆรู้จักที่เป็นดอกเดี่ยวและดอกช่อ”
จากนั้น ครูหยิบบัตรภาพ เช่นดอกดาวเรือง กุหลาบ เป็นต้น ซึ่งมีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และที่เหลือคือ ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
และครูก็ถามเด็กๆ ว่า
- “เด็กค่ะ ที่เหลือ มีกี่ดอก” (โดยการให้เด็กช่วยกันนับ)
- และเด็กๆ ทราบหรือไม่ว่าดอกไม้แต่ละชนิดชนิดใดเป็นดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อบ้าง
3. ครูทำการสำรวจความต้องการของเด็ก โดยการ
-ครูถามเด็กว่า “เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดใดกันบ้าง”และให้เด็กๆ บอกคุณครูทีละคน โดยครูใช้
ทักษะการเขียนกระดาษ วงกลมแทนเด็กจำนวน 1 คน
-จากนั้นครูก็สำรวจความชอบของเด็กว่าชอบดอกไม้ชนิดใดมากกว่ากัน โดย
- ครูและเด็กช่วยกัน นับวงกลม ซึ่งแทนตัวเด็กที่อยู่ดอกไม้แต่ละชนิด ออกพร้อมๆกัน
เช่น นับ 1 ก็ขีดเส้นยาว ในทุกๆ ดอกไม้ เพื่อแสดงระดับ นับไปเรื่อยๆจนหมด
ถ้าดอกไม้ชนิดใดเหลือวงกลุ่มอยู่มากที่สุด แสดงว่า เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดนั้นมากที่สุด
แหล่งการเรียนรู้/สื่อ
-เพลง จ้ำจี้ดอกไม้
จ้ำจี่ดอกไม้ ดาวเรือง หงอนไก่ จำปี จำปา มะลิ พิกุล กุหลาบ ชบา
บานชื่น กระดังงา
เข็ม แก้ว ลัดดา
เฟื่องฟ้า ราตรี
- บัตรภาพดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อ และดอกเดี่ยว
การประเมินผลการเรียนรู้
-สังเกต จากการตอบคำถามของและเด็กสามารถบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยวได้
ตัวอย่างสื่อการเรียนรู้
เช่น ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
ดอกกล้วยไม้
ดอกราตรี
ดอกคูณ
และ ดอกที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว
ดอกดาวเรือง
ดอกกุหราบ
จุดประสงค์
1. เพื่อให้เด็กบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะดอกช่อและดอกเดี่ยวได้อย่างน้อย 3 ชนิด
2. เพื่อให้เด็กสามารถจำแนกลักษณะของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อและดอกเดี่ยวได้
3.จำนวนมาก-น้อย
4. พัฒนาความคิดและจินตนาการได้
สาระการเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้
1.ดอกเดี่ยว เป็นดอกที่เกิดขึ้นบนก้านดอก เป็นดอกเดียวโดดๆ ในแต่ละข้อของกิ่งหรือลำต้น เช่น ชบา กุหลาบ ดาวเรือง เป็นต้น
2. ดอกช่อ เป็นดอกที่เกิดเป็นกลุ่มอยู่บนก้านดอกใหญ่เดียวกัน และประกอบด้วยก้านดอกย่อยๆ หลายดอก ลักษณะการติดของดอกทำให้เกิดช่อดอกแบบต่างๆ กัน เช่น กล้วยไม้ เป็นต้น
ประสบการณ์สำคัญ
1. การแยกชนิดของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสอนร้องเพลง “จ้ำจี้ดอกไม้” โดยการ
-ครูสอนให้เด็กๆ พูดตาม
-ครูสอนให้เด็กร้องตาม
-ครูให้เด็กๆ ร้องพร้อมกัน
จากนั้น ครูสนทนากับเด็ก โดยใช้คำถามดังนี้
-“เด็กๆ ค่ะ ในเพลงนี้ มีดอกไม้ชนิดใดบ้าง”
2. ครูสนทนากับเด็กโดยถามจากประสบการณ์เดิมของเด็ก เกี่ยวกับดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว ดังนี้
“เด็กๆ บอกครูซิว่าดอกไม้ชนิดใดบ้างที่เด็กๆรู้จักที่เป็นดอกเดี่ยวและดอกช่อ”
จากนั้น ครูหยิบบัตรภาพ เช่นดอกดาวเรือง กุหลาบ เป็นต้น ซึ่งมีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และที่เหลือคือ ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
และครูก็ถามเด็กๆ ว่า
- “เด็กค่ะ ที่เหลือ มีกี่ดอก” (โดยการให้เด็กช่วยกันนับ)
- และเด็กๆ ทราบหรือไม่ว่าดอกไม้แต่ละชนิดชนิดใดเป็นดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อบ้าง
3. ครูทำการสำรวจความต้องการของเด็ก โดยการ
-ครูถามเด็กว่า “เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดใดกันบ้าง”และให้เด็กๆ บอกคุณครูทีละคน โดยครูใช้
ทักษะการเขียนกระดาษ วงกลมแทนเด็กจำนวน 1 คน
-จากนั้นครูก็สำรวจความชอบของเด็กว่าชอบดอกไม้ชนิดใดมากกว่ากัน โดย
- ครูและเด็กช่วยกัน นับวงกลม ซึ่งแทนตัวเด็กที่อยู่ดอกไม้แต่ละชนิด ออกพร้อมๆกัน
เช่น นับ 1 ก็ขีดเส้นยาว ในทุกๆ ดอกไม้ เพื่อแสดงระดับ นับไปเรื่อยๆจนหมด
ถ้าดอกไม้ชนิดใดเหลือวงกลุ่มอยู่มากที่สุด แสดงว่า เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดนั้นมากที่สุด
แหล่งการเรียนรู้/สื่อ
-เพลง จ้ำจี้ดอกไม้
จ้ำจี่ดอกไม้ ดาวเรือง หงอนไก่ จำปี จำปา มะลิ พิกุล กุหลาบ ชบา
บานชื่น กระดังงา
เข็ม แก้ว ลัดดา
เฟื่องฟ้า ราตรี
- บัตรภาพดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อ และดอกเดี่ยว
การประเมินผลการเรียนรู้
-สังเกต จากการตอบคำถามของและเด็กสามารถบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยวได้
ตัวอย่างสื่อการเรียนรู้
เช่น ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
ดอกกล้วยไม้
ดอกราตรี
ดอกคูณ
และ ดอกที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว
ดอกดาวเรือง
ดอกกุหราบ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น