วันอาทิตย์ที่ 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
วันพฤหัสบดีที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดอกไม้
แผนการจัดประสบการณ์ หน่วยดอกไม้
จุดประสงค์
1. เพื่อให้เด็กบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะดอกช่อและดอกเดี่ยวได้อย่างน้อย 3 ชนิด
2. เพื่อให้เด็กสามารถจำแนกลักษณะของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อและดอกเดี่ยวได้
3.จำนวนมาก-น้อย
4. พัฒนาความคิดและจินตนาการได้
สาระการเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้
1.ดอกเดี่ยว เป็นดอกที่เกิดขึ้นบนก้านดอก เป็นดอกเดียวโดดๆ ในแต่ละข้อของกิ่งหรือลำต้น เช่น ชบา กุหลาบ ดาวเรือง เป็นต้น
2. ดอกช่อ เป็นดอกที่เกิดเป็นกลุ่มอยู่บนก้านดอกใหญ่เดียวกัน และประกอบด้วยก้านดอกย่อยๆ หลายดอก ลักษณะการติดของดอกทำให้เกิดช่อดอกแบบต่างๆ กัน เช่น กล้วยไม้ เป็นต้น
ประสบการณ์สำคัญ
1. การแยกชนิดของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสอนร้องเพลง “จ้ำจี้ดอกไม้” โดยการ
-ครูสอนให้เด็กๆ พูดตาม
-ครูสอนให้เด็กร้องตาม
-ครูให้เด็กๆ ร้องพร้อมกัน
จากนั้น ครูสนทนากับเด็ก โดยใช้คำถามดังนี้
-“เด็กๆ ค่ะ ในเพลงนี้ มีดอกไม้ชนิดใดบ้าง”
2. ครูสนทนากับเด็กโดยถามจากประสบการณ์เดิมของเด็ก เกี่ยวกับดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว ดังนี้
“เด็กๆ บอกครูซิว่าดอกไม้ชนิดใดบ้างที่เด็กๆรู้จักที่เป็นดอกเดี่ยวและดอกช่อ”
จากนั้น ครูหยิบบัตรภาพ เช่นดอกดาวเรือง กุหลาบ เป็นต้น ซึ่งมีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และที่เหลือคือ ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
และครูก็ถามเด็กๆ ว่า
- “เด็กค่ะ ที่เหลือ มีกี่ดอก” (โดยการให้เด็กช่วยกันนับ)
- และเด็กๆ ทราบหรือไม่ว่าดอกไม้แต่ละชนิดชนิดใดเป็นดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อบ้าง
3. ครูทำการสำรวจความต้องการของเด็ก โดยการ
-ครูถามเด็กว่า “เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดใดกันบ้าง”และให้เด็กๆ บอกคุณครูทีละคน โดยครูใช้
ทักษะการเขียนกระดาษ วงกลมแทนเด็กจำนวน 1 คน
-จากนั้นครูก็สำรวจความชอบของเด็กว่าชอบดอกไม้ชนิดใดมากกว่ากัน โดย
- ครูและเด็กช่วยกัน นับวงกลม ซึ่งแทนตัวเด็กที่อยู่ดอกไม้แต่ละชนิด ออกพร้อมๆกัน
เช่น นับ 1 ก็ขีดเส้นยาว ในทุกๆ ดอกไม้ เพื่อแสดงระดับ นับไปเรื่อยๆจนหมด
ถ้าดอกไม้ชนิดใดเหลือวงกลุ่มอยู่มากที่สุด แสดงว่า เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดนั้นมากที่สุด
แหล่งการเรียนรู้/สื่อ
-เพลง จ้ำจี้ดอกไม้
จ้ำจี่ดอกไม้ ดาวเรือง หงอนไก่ จำปี จำปา มะลิ พิกุล กุหลาบ ชบา
บานชื่น กระดังงา
เข็ม แก้ว ลัดดา
เฟื่องฟ้า ราตรี
- บัตรภาพดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อ และดอกเดี่ยว
การประเมินผลการเรียนรู้
-สังเกต จากการตอบคำถามของและเด็กสามารถบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยวได้
ตัวอย่างสื่อการเรียนรู้
เช่น ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
ดอกกล้วยไม้
ดอกราตรี
ดอกคูณ
และ ดอกที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว
ดอกดาวเรือง
ดอกกุหราบ
จุดประสงค์
1. เพื่อให้เด็กบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะดอกช่อและดอกเดี่ยวได้อย่างน้อย 3 ชนิด
2. เพื่อให้เด็กสามารถจำแนกลักษณะของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อและดอกเดี่ยวได้
3.จำนวนมาก-น้อย
4. พัฒนาความคิดและจินตนาการได้
สาระการเรียนรู้
สาระที่ควรเรียนรู้
1.ดอกเดี่ยว เป็นดอกที่เกิดขึ้นบนก้านดอก เป็นดอกเดียวโดดๆ ในแต่ละข้อของกิ่งหรือลำต้น เช่น ชบา กุหลาบ ดาวเรือง เป็นต้น
2. ดอกช่อ เป็นดอกที่เกิดเป็นกลุ่มอยู่บนก้านดอกใหญ่เดียวกัน และประกอบด้วยก้านดอกย่อยๆ หลายดอก ลักษณะการติดของดอกทำให้เกิดช่อดอกแบบต่างๆ กัน เช่น กล้วยไม้ เป็นต้น
ประสบการณ์สำคัญ
1. การแยกชนิดของดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว
กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสอนร้องเพลง “จ้ำจี้ดอกไม้” โดยการ
-ครูสอนให้เด็กๆ พูดตาม
-ครูสอนให้เด็กร้องตาม
-ครูให้เด็กๆ ร้องพร้อมกัน
จากนั้น ครูสนทนากับเด็ก โดยใช้คำถามดังนี้
-“เด็กๆ ค่ะ ในเพลงนี้ มีดอกไม้ชนิดใดบ้าง”
2. ครูสนทนากับเด็กโดยถามจากประสบการณ์เดิมของเด็ก เกี่ยวกับดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยว ดังนี้
“เด็กๆ บอกครูซิว่าดอกไม้ชนิดใดบ้างที่เด็กๆรู้จักที่เป็นดอกเดี่ยวและดอกช่อ”
จากนั้น ครูหยิบบัตรภาพ เช่นดอกดาวเรือง กุหลาบ เป็นต้น ซึ่งมีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว และที่เหลือคือ ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
และครูก็ถามเด็กๆ ว่า
- “เด็กค่ะ ที่เหลือ มีกี่ดอก” (โดยการให้เด็กช่วยกันนับ)
- และเด็กๆ ทราบหรือไม่ว่าดอกไม้แต่ละชนิดชนิดใดเป็นดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นช่อบ้าง
3. ครูทำการสำรวจความต้องการของเด็ก โดยการ
-ครูถามเด็กว่า “เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดใดกันบ้าง”และให้เด็กๆ บอกคุณครูทีละคน โดยครูใช้
ทักษะการเขียนกระดาษ วงกลมแทนเด็กจำนวน 1 คน
-จากนั้นครูก็สำรวจความชอบของเด็กว่าชอบดอกไม้ชนิดใดมากกว่ากัน โดย
- ครูและเด็กช่วยกัน นับวงกลม ซึ่งแทนตัวเด็กที่อยู่ดอกไม้แต่ละชนิด ออกพร้อมๆกัน
เช่น นับ 1 ก็ขีดเส้นยาว ในทุกๆ ดอกไม้ เพื่อแสดงระดับ นับไปเรื่อยๆจนหมด
ถ้าดอกไม้ชนิดใดเหลือวงกลุ่มอยู่มากที่สุด แสดงว่า เด็กๆ ชอบดอกไม้ชนิดนั้นมากที่สุด
แหล่งการเรียนรู้/สื่อ
-เพลง จ้ำจี้ดอกไม้
จ้ำจี่ดอกไม้ ดาวเรือง หงอนไก่ จำปี จำปา มะลิ พิกุล กุหลาบ ชบา
บานชื่น กระดังงา
เข็ม แก้ว ลัดดา
เฟื่องฟ้า ราตรี
- บัตรภาพดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อ และดอกเดี่ยว
การประเมินผลการเรียนรู้
-สังเกต จากการตอบคำถามของและเด็กสามารถบอกชื่อดอกไม้ที่มีลักษณะเป็นดอกช่อและดอกเดี่ยวได้
ตัวอย่างสื่อการเรียนรู้
เช่น ดอกที่มีลักษณะเป็นช่อ
ดอกกล้วยไม้
ดอกราตรี
ดอกคูณ
และ ดอกที่มีลักษณะเป็นดอกเดี่ยว
ดอกดาวเรือง
ดอกกุหราบ
บันทึกการเข้าเรียนวันที่ 18 กุมพาพันธ์ 2553
วันนี้เป็นการเรียนการสอนในคาบสุดท้ายค่ะ ซึ่งมีการเรียนการสอนในวันนี้มีลายละเอียด คือ
-การสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
-การสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
แต่ละหน่วยควรสอนปย่างไร ให้สอดคล้องกับพัฒนาการ
-การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้
-การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดการเรียนรู้
เป็นการจัดสภาพแวดล้อมที่เด็กสามารถเรียนรู้ได้จากกิจกรรมที่หลากหลาย
ตามความสนใจและความสามารถของเด็ก
-เทคนิคการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
-เทคนิคการประเมินพัฒนาการเด็กปฐมวัย
เช่น
แบบสังเกต เป็นต้นค่ะ
และอาจารย์ได้สั่งงานให้เขียนบันทึกครั้งสุดท้ายลงใน blog
เป็นครั้งสุดท้าย ด้วยการเขียนบันทึกจากที่ได้เรียนมาทั้งหมด
เป็นการสรุป ค่ะ
สำหรับบรรยากาศในการเรียน ก็เป็นการเรียนการสอนครั้งสุดท้าย
อาจารย์ก็ให้คำแนะนำในการเรียนการสอนดีเหมือนเดิม อากาศเย็นสบาย
เอื้อต่อการเรียนรู้ค่ะ
ภาพสื่อที่อาจารย์นำมาให้นักศึกษาดู ว่ากิจกรรมที่จัดกับเด็กปฐมวัยควรเป็นสื่ออย่างไรบ้าง
ดิฉัน มี ตัวอย่าง เพียง 2 ตัว อย่าง จากการถ่ายภาพ ซึ่งไม่ชัด เพราะดิฉันนั่งหาก จาก จอ ค่ะ
วีดีโอนี้เป็นเรื่อง เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ซึ่งดิฉันได้เปิดดูโทรทัศน์ช่องหนึ่ง
มีเนื้อหาน่าสนใจ ดิฉันจึงบันทึกวีดีโอ นำมาใส่ Blog ค่ะ
วันอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
บันทึกการเข้าเรียนวันที่ 12 กุมพาพัธ์ 2553
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาทดลองสอนหน้าชั้นเรียน
ต่อจากเมื่อวานคือหน่วยแมลง (กลุ่ม A) อนุบาล 1 ,2 และ 3
จากการสอนของนักศึกษาทั้งหมดอาจารย์ก็ได้ให้คำแนะนำ
กับนักศึกษาทุกคน เพื่อให้สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหา กิจกกรม สื่อการสอน ตลอดจนการเขียนแผน
ไม่ว่าจะเป็นเนื้อหา กิจกกรม สื่อการสอน ตลอดจนการเขียนแผน
ว่าวัตถุประสงค์ สาระการเรียนรู้ ประสบการณ์สำคัญ ควรเขียนอย่างไร
และอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษานำแผนที่อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเพิ่มเติม
มาปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
บรรยากาศในการเรียน
การเรียนวันนี้ได้เรียนห้อง ช. บริหาร ซึ่งห้องใหญ่ นั่งสบาย
แต่วันนี้ไม่เครียดค่ะ เพราะกลุ่มของดิฉันได้ออกไปสาธิตการสอนจากครั้งก่อนแล้ว
จึงรู้สึกโล่ง ค่ะ อาจารย์ก็ให้คำปรึกษา และคำแนะนำดีมาก เป็นกันเอง
ทำให้บรรยากาศไม่รู้สึกตรึงเครียด ทำให้กล้าที่จะแสดงออกมากขึ้นค่ะ
และอาจารย์ก็ได้ให้นักศึกษานำแผนที่อาจารย์ได้ให้คำแนะนำเพิ่มเติม
มาปรับปรุงแก้ไขให้ดียิ่งขึ้นต่อไป
บรรยากาศในการเรียน
การเรียนวันนี้ได้เรียนห้อง ช. บริหาร ซึ่งห้องใหญ่ นั่งสบาย
แต่วันนี้ไม่เครียดค่ะ เพราะกลุ่มของดิฉันได้ออกไปสาธิตการสอนจากครั้งก่อนแล้ว
จึงรู้สึกโล่ง ค่ะ อาจารย์ก็ให้คำปรึกษา และคำแนะนำดีมาก เป็นกันเอง
ทำให้บรรยากาศไม่รู้สึกตรึงเครียด ทำให้กล้าที่จะแสดงออกมากขึ้นค่ะ
วันพุธที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2553
บันทึกการเข้าเรียนวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2553
วันนี้เป็นวันที่อาจารย์นัดเรียนเสริม ซึ่งวันนี้อาจารย์ให้นักศึกษาแต่ล่ะคน
ออกไปสอนหน้าชั้นเรียน พร้อมกับส่งแผน วันนี้นักศึกษา กลุ่ม B ที่ออกไปสอนหมดแล้ว
ครั้งต่อไปคือ กลุ่ม A
สำหรับกลุ่มของดิฉัน ได้สอนชั้นอนุบาล 3 หน่วย ดอกไม้
ดิฉันได้สอนเป็นคนแรกของอนุบาล 3 จากการสอนที่ได้ดูเพื่อน ๆ แต่ละกลุ่ม
ดิฉันรู้สึกตื่นเต้น กล้า ๆ กลัว ๆ ที่จะออกไปสอนหน้าชั้นเรียน จากการสอนของเพื่อนๆ แต่ละคน
ก็ได้รับคำแนะนำจากอาจารย์เพิ่มเติม
ส่วนสำหรับของดิฉัน อาจารย์ให้คำแนะนำ นานพอสมควรเกี่ยวกับกิจกรรมและแผนการสอน
แต่ดิฉันก็ดีใจที่ได้คำชมบ้างเล็กน้อย เช่น ในเรื่องการเขียนแผน ซึ่งดิฉันหาข้อมูล
การออกไปสอนครั้งนี้ดิฉันก็เตรียมตัวอยู่หลายวัน ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมสื่อ
แต่ผลที่ออกมา ดิฉันคิดว่าดิฉันทำได้ไม่ดีเลย แต่ดิฉันก็จะนำคำแนะนำจากอาจารย์
ปปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นต่อไปค่ะ
บรรยากาศในการเรียน
บรรยากาศในการเรียนวันนี้ ก็รู้สึกว่าจะตั้งใจเรียนเป็นพิเศษเนื่องจากแต่ละคน
ต้องเตรียมตัวสำหรับการสอน และร่วมทำกิจกรรมกับเพื่อน ๆ
ซึ่งวันนี้ได้ทำกิจกรรม 14 กิจกรรมแต่ก็สนุกดีค่ะ
อาจารย์กำลังให้คำแนะนำคำแนะนำจากอาจารย์
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)